วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 7 วันอังคาร ที่ 20 กันยายน 2559

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 7
วันอังคาร ที่ 20 กันยายน 2559
ความรู้ที่ได้รับ
  • คัดลายมือ ครั้งที่ 3
  • จัดประเภทของเล่น
  • ภาพติดตา
  • ภาพหมุน
  • วัดระดับน้ำ
  • ดอกไม้กระดาษ
  • ไข่มีเสียง (กลุ่ม) 
คัดลายมือ ครั้งที่ 3







การบ้าน


                                                                           ภาพติดตา


ภาพหมุน

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  1. แรงต้านอากาศ
  2. ความหนาแน่น
  3. แรงตึงผิว
  4. แรงดันอากาศ
  5. แรงหนีศูนย์กลาง
  6. ความยืดหยุ่น
กิจกรรม มือสามมิติ


วิธีทำ
  1. ให้เด็ก ๆ วาดรูปมือของตนเองบนกระดาษ A4
  2. ให้เด็ก ๆ ขีดเส้น ตรง และ โค้งขึ้นเมื่อถึงมือของตน ตลอดทั้งมือ
  3. ให้เด็ก ๆ ใช้สีขีดใต้เส้นเดิม แต่ใช้สีที่ต่างกัน
  4. จะเกิดเป็นภาพ มือสามมิติ 
  5. สามารถประยุกต์ได้กับหน่วยร่างกายหรือหน่วยอื่นได้มากมาย
วัดระดับน้ำ

หลักการ
  • น้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ
  • ใช้ในการวัดระดับน้ำ

ดอกไม้บาน



วิธีทำ 
  1. ตัดกระดาษ A4 1 แผ่น ต่อเด็ก 4 คน 
  2. พับกระดาษ  1 ส่วนที่ได้ เป็น 4 ทบ
  3. ใช้กรรไกรตัดตรงมุม เป็นรูปดอกไม้
  4. ระบายสีตรงกลางดอก
  5. พับกลีบ ทั้ง 4 กลีบ
  6. นำไปลอยในอ่างน้ำ


หลักการ
  • น้ำซึมเข้าไปในเยื่อกระดาษ
  • สีละลายซึมลงผิวน้ำ เมื่อชนกันจะเกิดสีใหม่ (ความรู้ใหม่)
  • มวลกระดาษหนักกว่าน้ำ        
  • กระดาษจมลง      
  • เป็นการทดลอง
  • เห็ดหูหนูอบแห้งนำไปแช่น้ำ
  • กระดาษทิชชู่ซับน้ำ
ไข่มีเสียง  (งานกลุ่ม)


วัสดุ/อุปกรณ์ 
  1. ไข่ปลอม
  2. ถาดวางไข่
  3. รังไข่
  4. ถั่วเขียว
  5. ข้าวสาร
  6. เม็ดมะขาม
  7. เม็ดแมงลัก
  8. น้ำมัน
  9. แผ่นเฉลย
  10. ปืนกาว
  11. สีน้ำ
ขั้นตอนการทำ
  1. นำไข่ปลอมทั้งหมด มาเจาะรูด้านบน และใส่วัสดุทั้ง 6 ชนิดลงไป (ชนิดละ 2 ฟอง)
  2. นำปืนกาวยิงเพื่อปิดรูของไข่ที่เจาะไว้ 
  3. ทาสีไข่ทั้งหมด โดยไม่ซ้ำกัน
  4. นำไข่ไปวางบนตะกร้าที่เตรียมไว้
  5. ทำแผ่นเฉลยโดยไข่ที่มี วัสดุชนิดเดียวกันจะอยู่คู่กัน
วิธีเล่น        
      ให้เด็ก ๆ เขย่าไข่ที่อยู่บนตะกร้า เพื่อหาเสียงที่เหมือนกันและนำมาวางจับคู่บนรังไข่ให้ถูกต้อง จากนั้นดูแผ่นเฉลยเพื่อตรวจคำตอบ

หลักการทางวิทยาศาสตร์

คำศัพท์
  1. Flower:ดอกไม้
  2. Hand:มือ
  3. Egg:ไข่
  4. Sound:เสียง
  5. Water:น้ำ

การประยุกต์ใช้
 ภาพติดตาและภาพหมุนสามารถนำไปทำสื่อการสอนในหน่วยอื่นๆ ได้ เช่น หน่วยร่างกายอาจทำเป็น หน้ากับตา และอีกมากมาย วัดระดับน้ำ สามารถนำไปไว้ในมุมเสริมประสบการณ์ มุมวิทยาศาสตร์ และอาจจะใช้อุปกรณ์ที่แตกต่างเช่นอาจผสมสีของน้ำให้เป็นสีอื่นๆ ตามต้องการ ดอกไม้กระดาษ สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับหน่วยดอกไม้ หรือ หน่วยอื่นๆ ได้ องเล่นที่เพื่อนนำเสนอ สามารถดัดแปลงเป็นวัสดุ ขนาด หรือรูปทรงที่แตกต่างจากเดิม เพื่อนำมาเป็นสื่อการสอนได้อย่างดี

ประเมิน
ตนเอง : กิจกรรมสนุกสนาน ได้มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม 
สภาพแวดล้อม : อากาศหนาว อาจเสียงดังบ้าง แต่ทำให้การเรียนดูครึกครื้นสนุกสนานดีค่ะ
อาจารย์ : มีกิจกรรมใหม่ ๆ และตัวอย่างสื่อมาให้ได้ลองเล่นจริงๆ 

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6 วันอังคารที่ 13 กันยายน 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6 
วันอังคารที่ 13 กันยายน 2559
ความรู้ที่ได้รับ
  • วีดีโอ "ความลับของแสง"
  • สาระที่ควรเรียนรู้
  • แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  • เครื่องมือในการเรียนรู้
  • กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  • องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
  • สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
เนื้อหา

คัดลายมือ ครั้งที่ 2



สาระที่ควรเรียนรู้
  1. ตัวฉัน
  2. บุคคลและสถานที่
  3. ธรรมชาติรอบตัว
  4. สิ่งต่างๆ รอบตัว
เครื่องมือในการเรียนรู้
  1. ภาษา
  2. คณิตศาสตร์
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  1. การปรับตัว
  2. ความแตกต่าง
  3. การเปลี่ยนแปลง
  4. การพึ่งอาศัย
  5. ความสมดุล
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  1. ตั้งปัญหาสมมุติฐาน
  2. รวบรวมข้อมูล
  3. สรุปผล
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
  1. คิดริเริ่ม
  2. คิดคล่องแคล่ว
  3. คิดยืดหยุ่น
  4. คิดละเอียดลออ
  5. คิดสร้างสรรค์
 วีดีโอ "ความลับของแสง"

หลักการสะท้อนแสง




สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
มาตรฐาน ว 1. 1

  • เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 
  • ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน 
  • มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเอง
  • และดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 1.2  

  • เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
  •  วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต 
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ 
  • การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 
  • มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ 
  • และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์


สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 2.1   

  • เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
  • ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต 
  • ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ 
  • มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสต
  • ร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.2  

  • เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 
  • การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก
  • นำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1  

  • เข้าใจสมบัติของสาร   
  • ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
  •  มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
  • สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 3.2  

  • เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร 
  • การเกิดสารละลาย 
  • การเกิดปฏิกิริยา 
  • มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ 
  • สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1  

  • เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า 
  • แรงโน้มถ่วง 
  • และแรงนิวเคลียร์  
  • มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 
  • สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ อย่างถูกต้อง
  • และมีคุณธรรม  
มาตรฐาน ว4.2

  • เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ
  • มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
  • สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5. 1

  • เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต 
  • การเปลี่ยนรูปพลังงาน 
  • ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน  
  • ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม 
  • มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6. 1 

  • เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก 
  • ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก 
  • มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7. 1 

  • เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ 
  • กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก 
  • มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  
  • การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 7.2 

  • เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำมาใช้ในการสำรวจอวกาศ
  • และทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร  
  • มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม

สาระที่ 8  ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8. 1  

  • ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ 
  • การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน 
  • สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ 
  • เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม  มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
คำศัพท์
  1. standard:
    มาตรฐาน
  2. organism:
    สิ่งมีชีวิต
  3. environment:
    สิ่งแวดล้อม
  4. energy:
    พลังงาน
  5. astronomy:
    ดาราศาสตร์
การประยุกต์ใช้
      สามารถนำหลักการกระบวนการมาใช้ในการเขียนแผนการสอนได้ในอนาคต


ประเมิน
ตนเอง : ตอบคำถามได้ บทเรียนน่าสนใจ ไม่มีสมาธิเท่าที่ควร
สภาพแวดล้อม : บรรยากาศในห้องอึมครึม ฝนตก ห้ตองแคบ แอร์เย็น
อาจารย์ : อธิบายเนื้อหาได้ลึกซึ้ง มีของเล่นตัวอย่างและวีดีโอเป็นสื่อการสอน ทำให้เข้าใจง่ายมากขึ้น

วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5 วันอังคารที่ 6 กันยายน 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
วันอังคารที่ 6 กันยายน  2559


ความรู้ที่ได้รับ
  • VDO
  • นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
รายละเอียดของเล่น
  1. ชื่อ
  2. อุปกรณ์
  3. วิธีการ
  4. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  5. บูรณาการ

1.ชื่อ "ธนูจิ๋ว"


           
2.อุปกรณ์


1.ไม้ไอติม


2.ยาง


3.คัตเติ้ลบัต


      3.วิธีการ
  1. เตรียมอุปกรณ์
  2. ผ่าไม้ไอดิมหัวท้ายออกอย่างละนิดเพื่อยึดยางทั้งสองข้าง
  3. ใส่ยางที่ไม้ไอติมทั้งสองข้าง
  4. ใช้คัตเติ้ลบัตง้างยางออกคล้ายกำลังจะยิงธนู

      4.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 ธนูจิ๋ว เป็นของเล่นที่ได้ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ในเรื่องของ ความยืดหยุ่น โดย ยางจะมีคุณสมบัติยืดหยุ่น เมื่อเราดึงเส้นยางแล้วยางจะยืดออกไปได้ แต่เมื่อปล่อยแรงดึง เส้นยางจะกลับคืนสภาพเดิม

      5.บูรณาการ
  สามารถใช้อุปกรณ์อื่นเช่น เชือก เอ็น แทนหนังยางได้ และสามารถเปลี่ยนคันธนูจากไม้ไอติมเป็นพลาสติกหรือสิ่งของรอบตัวได้เช่นกัน

การนำไปประยุกต์ใช้
 สามารถนำขั้นตอนการคิด และวิธีการประดิษฐ์ ไปปรับใช้กับแผนการสอน ในหน่วยอื่น ๆ และนำไปประยุกต์ต่อยอดกับวิชาต่างๆ ได้

ประเมิน
ตนเอง : สามารถนำเสนอของเล่นได้อย่างถูกต้อง และนำของเล่นไปส่งได้ตามเวลา
เพื่อน : อาจติดปัญหา ของเล่นซ้ำกัน ไม่ได้เอาของเล่นมา ในบางคน
อาจารย์ : อาจารย์อธิบายหลักของวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องให้ได้ทราบ และแนะนำวิธีการคิดของเล่น

วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559

งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์

งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์
ณ เมืองทองธานี
18-28 สิงหาคม 2559
9.00-19.00 น.
อาคารอิมแพ็ค Hall 2-8 เมืองทองธานี



นิทรรศการมหัศจรรย์แห่งวิทยาศาสตร์
ตอน มหัศจรรย์แห่งไข่








Ball Kinetic system